คดีมรดก : 相続事件

日本とタイにかかわる国際相続についても、どうぞご相談下さい。

ไม่ว่าคุณจะอยู่ที่ไทยหรืออยู่ในญี่ปุ่น จะเป็นคนไทยหรือคนญี่ปุ่น คุณมีสิทธิในการสืบมรดก หากคุณกำลังประสบปัญหาเรื่องการสืบมรดกระหว่างประเทศญี่ปุ่นกับไทย หรือไม่แน่ใจว่าคุณเป็นทายาท (คู่สมรส บุตร บิดามารดา พี่น้อง เป็นต้น) ที่มีสิทธิรับมรดกหรือไม่ ผมยินดีให้คำปรึกษาครับ

ทนายเคนมีประสบการณ์ในการรับว่าความให้กับชาวไทยที่อยู่ในเมืองไทยเป็นจำนวนมาก พี่น้องชาวไทยทั้งในไทยและญี่ปุ่น สามารถติดต่อผมได้ทั้งทางไลน์ เฟสบุ๊คและอีเมล์นะครับ

あなたが、タイにいても、日本にいても、タイ人であっても、日本人であっても、相続する権利があります。相続人(配偶者、子ども、親、兄弟姉妹)にあたるか、相続権があるかよくわからない、そんな場合でもぜひご相談下さい。

弁護士青木健悟(タナ―イケン)は、タイにいるタイ人からの受任実績も多数あります。日本国内はもちろん、タイ国内からもライン等でお気軽にご相談下さい。

Q: ดิฉันเป็นคนไทย เกิดและเติบโตในเมืองไทย แม่บอกดิฉันว่า พ่อของดิฉันเป็นคนญี่ปุ่น และจดทะเบียนรับรองบุตรให้ แต่ไม่เคยเจอหน้าพ่อเลยสักครั้ง ดิฉันได้ข่าวมาว่าพ่อเสียแล้ว แต่ไม่แน่ใจว่าเป็นเรื่องจริงหรือเปล่า ดิฉันควรทำอย่างไรดี

A:คุณเป็นทายาทที่มีสิทธิได้รับมรดกครับ ในขั้นแรก คุณควรต้องตรวจสอบข้อเท็จจริงเรื่องการเสียชีวิตของคุณพ่อ รวมทั้งตรวจสอบให้แน่ชัดว่าคุณเป็นบุตรที่มีชื่อในทะเบียนครอบครัว ในญี่ปุ่น หลังจากที่แต่งตั้งทนายแล้ว ทนายสามารถยื่นขอทะเบียนครอบครอบ และทะเบียนที่อยู่อาศัยจากหน่วยงานราชการได้ในกรณีที่จำเป็นครับ หลังจากนั้นก็ต้องสืบว่าทรัพย์มรดกมีอะไรบ้าง และทายาทที่มีสิทธิรับมรดกมีใครบ้าง

Q:แต่แม่ของฉันไม่ได้จดทะเบียนสมรสกับพ่อนะคะ กลัวว่าจะไม่มีสิทธิรับมรดกค่ะ ฉันอยากทราบว่าจริงๆ แล้วดิฉันมีสิทธิรับมรดกไหมคะ

A:ถ้าคุณพ่อคุณจดทะเบียนรับรองบุตร คุณมีสิทธิได้รับมรดกตามกฎหมาย แม้ว่าคุณพ่อกับคุณแม่จะไม่ได้จดทะเบียนสมรสกัน หากบุตรไม่ได้รับมรดกด้วยเหตุผลที่ว่าพ่อกับแม่ไม่ได้สมรสกัน ย่อมถูกต้องยุติธรรมต่อบุตรครับ

Q:ดิฉันอายุ 45 ปี สามีชาวญี่ปุ่น อายุ 60 ปีป่วยและเสียชีวิตไปเมื่อวันก่อน เราสองคนไม่มีลูกด้วยกัน และครอบครัวสามีก็เสียชีวิตหมดแล้ว ดิฉันเป็นทายาทที่มีสิทธิรับมรดกเพียงคนเดียวค่ะ เมื่อวันก่อนดิฉันเจอพินัยกรรมในโต๊ะของสามีตอนเก็บบ้าน พินัยกรรมเขียนว่ามอบมรดกทั้งหมดให้นาง A พอสืบดูทราบว่านาง A เป็นคนต่างชาติและมีความสัมพันธ์ฉันชู้สาวกับสามี ดิฉันตกใจและรู้สึกกังวลเรื่องค่ากินอยู่ในการดำเนินชีวิตมาก ถ้านาง A ได้รับมรดกไปทั้งหมด ดิฉันยังอายุแค่ 45 และกังวลเรื่องการใช้ชีวิตต่อไปในญี่ปุ่นเพียงลำพัง ดิฉันควรทำยังไงดีคะ

A:คุณสามารถเรียกร้องส่วนที่ถูกละเมิดสิทธิ (ส่วนที่คุณควรได้รับตามกฎหมาย) ได้ครับ กรณีที่ทายาทถูกละเมิดสิทธิการรับมรดกจากพินัยกรรม ไม่ว่าเนื้อหาของพินัยกรรมจะระบุไว้ว่าอย่างไร คุณมีสิทธิที่จะเรียกร้องให้ผู้ที่ได้รับทรัพย์มรดกไปจ่ายเป็นเงินซึ่งมูลค่าเทียบเท่ากับทรัพย์มรดกส่วนหนึ่ง คำว่า “ส่วนหนึ่ง” คุณอาจจะคิดว่าคงมีมูลค่าไม่มากนัก สำหรับกรณีของคุณ สามารถเรียกร้องนาง A ในสัดส่วน 1 ใน 4 ของมูลค่าทรัพย์มรดกครับ  การเรียกร้องส่วนที่ถูกละเมิดสิทธิ (ส่วนที่คุณควรได้รับตามกฎหมาย) เป็นสิทธิที่ได้รับการยอมรับเพื่อเป็นการค้ำประกันการใช้ชีวิตของทายาทผู้รับมรดกที่ยังต้องดำเนินต่อไป และผม ทนายเคนมีประสบการณ์ในการเรียกร้องส่วนที่ถูกละเมิดสิทธิข้างต้น ติดต่อเพื่อขอคำแนะนำและรับคำปรึกษาได้ครับ

Q:私は、タイに住んでいるタイ人女性です。生まれたころからずっとタイで育ってきました。一度も会ったことはないのですが、私を認知した日本人の父親甲が日本にいるとタイ人の母から聞かされています。風の便りで、父親が死亡したという話を聞いたのですが、真実はよくわかりません。どうしたらよいでしょうか。

A:あなたに甲の遺産相続権があります。日本の弁護士は、受任した事件において必要性があれば甲の戸籍謄本、住民票などを取得できます。まずは、甲の死亡の事実、あなたが間違いなく甲の子であるという事実を戸籍謄本で確認した上で、遺産の調査、他の相続人の存在の確認から始めましょう。

Q:わかりました。ただ、気になることがあります。私の母は、甲と婚姻したことがないようなのです。両親が結婚していないことから、私の相続権はないという気もしますが、私に相続権はありますか。

A:相続権があります。法律上、甲とあなたに父と子という関係があれば、お母さんと甲が結婚しなくとも、相続権があります。お父さんとお母さんが結婚しているかという偶然の事情によって、子が遺産相続できるかの結論が変わってしまうと、子どもの相続権が不当に失われてしまうからです。

Q:私は、日本にいるタイ人女性、現在45歳です。日本人である夫甲が、先日60歳で病死しました。私と甲との間には、子がいませんし、夫の家族もすでに他界しているので、相続人は私だけです。甲の死後、悲しみに暮れながら甲の机を片付けていたところ、遺言書が出てきました。遺言書をみると、「私甲の遺産は、すべて、乙女に遺贈する。」という内容でした。調べると、乙女は、甲が生前に不倫していた外国人女性のようです。私は大変驚くとともに、甲の遺産がすべて乙女に贈与されてしまうと、今後の生活が経済的にとても不安定になってしまうという不安に襲われました。私はまだ45歳なので、日本でひとり生活していくことはとても不安です。どうしたらよいでしょうか。

A:あなたは、乙女に対し、遺留分侵害額請求をすることができます。遺留分侵害額請求とは、あなたのような相続人が、相続権を遺言によって侵害された場合、遺言の内容にかかわらず遺産の一部の価額に相当する金銭を、遺産を取得した人間に対し請求する権利です。「一部」というと低額なもと思われるかも知れませんが、本件の場合ですと、あなたは遺産価額の4分の1を乙女に対し、請求することができます。遺留分侵害額請求権は、まさにあなたのように、残された相続人の今後の生活を保障するために認められた権利です。弁護士青木健悟は、遺留分侵害額請求事案の実績もありますので、まずはご相談下さい。


ให้ผมได้ช่วยเหลือคุณ ติดต่อทนายเคน

TEL:03-6709-6785
FAX : 03-6709-6786
ภาษาไทย:070-8367-8035
LINE ID : bengoshiken
Facebook